…. ข่าว "วงใน ลึก จริง" …

ไล่สายคดีมรรยาททนายความ (เพื่อสอบวิชาว่าความ)

                   

 ทนายความเป็นผู้อำนวยความเป็นธรรมให้แก่ผู้มีอรรถคดีอาญาคดีแพ่งคดีปกครอง    เป็นผู้ตรวจสอบถ่วงดุลอำนาจรัฐปกป้องคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนตามหลักสิทธิมนุษยชนและบทบัญญัติรัฐธรรมนูญบทบาทอำนาจหน้าที่ของทนายความในกระบวนการยุติธรรมจึงมีความสำคัญ  ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าตำรวจอัยการศาลหรือหน่วยงานบังคับใช้กฎหมายอื่นของรัฐ   บุคคลผู้จักเข้ามาเป็นทนายความจึงจำเป็นต้องมีความรู้ที่เกิดจากการศึกษาเรียนรู้และฝึกฝนด้านกฎหมายโดยเฉพาะต้องมีจรรยาบรรณและมรรยาทมาตรฐานในการประกอบวิชาชีพกฎหมายด้วยเหตุนี้กฎหมายจึงกำหนดให้    การทำหน้าที่ทนายความเป็นการประกอบวิชาชีพเฉพาะมิใช่เพียงแค่การประกอบอาชีพทั่วไป  โดยมีพระราชบัญญัติทนายความพ.ศ. 2528 เป็นกฎหมายจัดตั้งองค์กรกำหนดหลักเกณฑ์คุณสมบัติของผู้ที่จะเป็นทนายความวิธีการจดทะเบียนการอนุญาตให้เป็นทนายความและจรรยาบรรณมรรยาทของ                     ผู้เป็นทนายความ  การขอจดทะเบียนและรับใบอนุญาตให้เป็นทนายความนอกจากผู้ขอจะต้องจบกฎหมายแล้วต้องสอบผ่านหลักสูตรวิชาว่าความตามที่สภาทนายความกำหนดและเป็นสามัญหรือวิสามัญสมาชิกแห่งเนติบัณฑิตยสภาด้วย  วิชาหนึ่งในหลักสูตรวิชาว่าความเพื่อขอจดทะเบียนรับใบอนุญาตเป็นทนายความทั้งกรณี    การอบรมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ (ที่เรียกกันว่า “ตั๋วรุ่น” ) และการฝึกหัดงานในสำนักงานทนายความเป็นเวลาหนึ่งปี (ที่เรียกกันว่า “ตั๋วปี”) คือการทดสอบวิชามารยาททนายความทั้งภาคอัตนัยและภาคปรนัยผู้เขียนจึงสรุปขอบเขตเนื้อหาและแนวทางการตอบข้อสอบวิชานี้ให้สั้นกะทัดรัดและเข้าใจง่าย  แก่ผู้เข้าสอบเพื่อเป็นประโยชน์ในการสอบดังเนื้อหาต่อไปนี้   

1.หลักทั่วไปของวิชามรรยาททนายความ    ดังที่กล่าวไว้ข้างต้นว่า  ทนายความเป็นการประกอบวิชาชีพด้านกฎหมายอย่างหนึ่งดังนี้บุคคลผู้ที่จะได้รับใบอนุญาตและขึ้นชื่อว่าเป็นทนายความแล้วนอกจากจะต้องปฏิบัติตามกฎหมายในฐานะประชาชนยังต้องปฏิบัติตามมรรยาททนายความในฐานะเป็นทนายความด้วย  กล่าวโดยสรุปมรรยาททนายความก็คือข้อห้ามหรือกฎระเบียบที่ควบคุมความประพฤติของผู้ที่ได้รับอนุญาตให้เป็นทนายความเพื่อรักษามาตรฐานแห่งวิชาชีพนั่นเอง         

*กฎหมายและข้อบังคับเกี่ยวกับมรรทยาททนายความที่สำคัญมี 3 ฉบับคือ  ( ผู้สอบควรจำอย่างน้อยชื่อของกฎหมายและชื่อของข้อบังคับให้ได้ )    1.พระราชบัญญัติทนายความพ.ศ.2528 หมวด 6 มาตรา 51 ถึงมาตรา 72 เป็นบทกฎหมายที่กล่าวเกี่ยวกับมรรยาททนายความไว้กว้างๆ (เปรียบเสมือนรัฐธรรมนูญของมรรยาทนายความนั่นเอง)  2.ข้อบังคับสภาพทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความพ.ศ. 2529 เป็นบทบัญญัติเกี่ยวกับข้อกล่าวหาหรือฐานความผิดของคดีมรรยาททนายความ ( เปรียบเสมือนกฎหมายสารบัญญัติSubstantive Law  ของคดีมรรยาทนายความนั่นเอง )   3.ข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยการพิจารณาคดีมรรทยาททนายความพ.ศ. 2546 เป็นบทบัญญัติเกี่ยวกับขั้นตอนการกล่าวหาร้องเรียนการสอบสวนดำเนินคดีมรรทยาททนายความ                   (เปรียบเสมือนกฎหมายวิธีสบัญญัติ Procedural Law ของคดีมรรยาททนายความนั่งเอง)    การศึกษาวิชามรรยาททนายความจึงต้องศึกษากฎหมายและข้อบังคับทั้งสามฉบับดังกล่าวไปพร้อมกันและในเวลาตอบข้อสอบต้องนำข้อเท็จจริงมาปรับกับบทกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวกับการกระทำผิดมรรยาททนายความแล้วตอบเกี่ยวกับการกระทำผิดมรรยาทส่วนหนึ่ง  และนำข้อเท็จจริงมาปรับกับบทกฎหมายและข้อบังคับเกี่ยวกับวิธีการดำเนินคดีมรรยาทนายความแล้วตอบเกี่ยวกับวิธีการดำเนินคดีมรรยาทอีกส่วนหนึ่งฉะนั้นผู้สอบควรจดจำบทกฎหมายและข้อบังคับให้ได้เป็นอย่างน้อยเพื่อการอ้างอิง  ในการตอบข้อสอบ        2.มรรยาททนายความ  1.ผู้ที่เป็นทนายความมีหน้าที่ต้องประพฤติตนตามข้อบังคับว่าด้วยมรรยาทนายความ (ตามพ.ร.บ.ทนายความพ.ศ. 2528 มาตรา 51)  2.มรรทยาททนายความประกอบด้วย (ตามพ.ร.บ.ทนายความพ.ศ. 2528 มาตรา 53 )  2.1 มรรยาทต่อศาลและในศาล  2.2 มรรยาทต่อตัวความ  

2.3 มรรยาทต่อทนายความด้วยกัน  2.4 มรรยาทต่อประชาชนผู้มีอรรถคดี  2.5 มรรยาทความประพฤติของทนาย  2.5 มรรยาทเกี่ยวกับการแต่งกายของทนาย  2.6 มรรยาทเกี่ยวกับการปฏิบัติตามคำสั่งของสภาทนายความฯ      3. คดีมรรยาททนายความภาคข้อกล่าวหาว่าผิดมรรยาททนายความ       ข้อกล่าวหาหรือฐานความผิดเกี่ยวกับคดีมรรยาททนายความเป็นไปตามข้อบังคับ             สภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความพ.ศ. 2529  โดยสรุปดังนี้   1. มรรยาทต่อศาลประกอบด้วย **(ออกสอบรุ่นที่ 54,รุ่นที่ 51)**   1.1.ไม่ยอมเป็นทนายขอแรงเมื่อศาลขอแรงในคดีอาญาโดยไม่มีข้อแก้ตัว  ( ข้อ 5 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความพ.ศ. 2529)  1.2 ไม่เคารพหรือดูหมิ่นศาลไม่ว่าในหรือนอกศาล **(เคยออกสอบ)** ( ข้อ 6 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความพ.ศ. 2529)  1.3 กล่าวเท็จหรือทำเอกสารเท็จหรือใช้กลอุบายเพื่อทราบคำสั่งศาลที่ยังไม่เปิดเผย ( ข้อ 7 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความพ.ศ. 2529)   1.4 ทำพยานหลักฐานเท็จเสี้ยมพยานให้เบิกความเท็จ  ให้สินบนหรือสมรู้ร่วมคิดให้สินแก่เจ้าพนักงาน ( ข้อ 8 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความพ.ศ. 2529)          

2. มรรยาทต่อตัวความประกอบด้วย **(ออกสอบรุ่นที่ 53,รุ่นที่ 51)**         2.1 ยุยงให้มีตัวความฟ้องร้องกันในเรื่องที่ไม่มีมูล  ( ข้อ 9 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความพ.ศ. 2529)  2.2 ใช้อุบายจูงใจให้ตัวความมอบคดีให้ตน **(เคยออกสอบ)**   – โดยหลอกว่าคดีจะชนะ  – โดยอวดอ้างว่าตนเองมีความรู้เก่งกว่าทนายคนอื่น – โดยอวดอ้างว่าตนรู้จักหรือมีพรรคพวกสามารถช่วยให้ตัวความได้ผลประโยชน์ทางคดีในทางใดๆเป็นพิเศษนอกจากการว่าความ  หรือขู่ว่าจะให้พรรคพวกทำให้ตัวความแพ้คดีหากไม่มอบคดีให้ตนว่าต่างหรือแก้ต่าง (ว่าต่างคือการฟ้องคดีแก้ต่างคือการสู้คดี ) **(เคยออกสอบ)**   ( ข้อ 10 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความพ.ศ. 2529) 2.3 เปิดเผยความลับของลูกความโดยไม่ได้รับอนุญาตจากลูกความ  ( ข้อ 11 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความพ.ศ. 2529) 2.4 ทำให้ตัวความเสียหาย **(ออกสอบรุ่นที่ 54, รุ่นที่ 50)**   – โดยทอดทิ้งคดีหรือจงใจขาดนัด **(เคยออกสอบ)**        – โดยละเว้นหน้าที่หรือปิดบังความที่ควรบอกลูกความ **(เคยออกสอบ)**   ( ข้อ 12 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความพ.ศ. 2529)  2.5 ล่วงรู้ข้อเท็จจริงจากลูกความจากการเป็นทนายหรือการให้คำปรึกษาแล้วไปรับเป็นทนายความหรือช่วยเหลือคู่ความฝ่ายตรงข้าม  ( ข้อ 13 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความพ.ศ. 2529)      2.6  ใช้กลอุบายหลอกลูกความเพื่อจะได้รับผลประโยชน์นอกเหนือจากที่ตกลงกัน ( ข้อ 14 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความพ.ศ. 2529)  2.7 ยักยอกฉ้อโกงหรือหน่วงรั้ง  ทรัพย์สินของลูกความที่ได้จากการทำหน้าที่นานเกินกว่าเหตุ  ( ข้อ 15 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความพ.ศ. 2529) 3.มรรยาทต่อทนายความด้วยกันประกอบด้วย    3.1 แย่งหรือประมูลคดีความ  ที่มีทนายความอยู่แล้ว (เว้นแต่ทนายความคดีนั้นยินยอม / ตัวความถอนทนายความแล้ว / ทนายความคดีนั้นไม่สมัครใจว่าความต่อ) ( ข้อ 16 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความพ.ศ. 2529)  4.มรรยาทต่อประชาชนประกอบด้วย **(ออกสอบรุ่นที่ 52 ,รุ่นที่ 53                 และรุ่นที่ 49)**   4.1 ประกาศโฆษณาเกี่ยวกับอัตราค่าจ้างว่าความ    4.2 ประกาศโฆษณาว่าจะไม่เรียกค่าจ้างว่าความ 4.3 ประกาศโฆษณาโอ้อวดชื่อคุณวุฒิตำแหน่งเพื่อชักชวนให้ผู้มีคดีมาว่าจ้างให้เป็นทนายความ **(เคยออกสอบ)**  ( ข้อ 17 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความพ.ศ. 2529) 4.5 ประกอบอาชีพหรือทำธุรกิจที่ฝ่าฝืนต่อศีลธรรมอันดีหรือเสื่อมเสียเกียรติของการเป็นทนายความ    4.6 ประพฤติตน  ฝ่าฝืนต่อศีลธรรมอันดีหรือเสื่อมเสียเกียรติของการเป็นทนายความ **(ออกสอบ)**   ( ข้อ 18 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความพ.ศ. 2529)   4.7 ตกลงยินยอมให้ “ค่านายหน้า” แก่ผู้หาคดีมาให้ว่า   4.8 ว่าจ้างลูกจ้างหรือเสมียนให้ทำหน้าที่หาคดีมาให้ว่า  ( ข้อ 19 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยมรรยาททนายความพ.ศ. 2529)   4.โทษในคดีมรรทยาททนายความ  4.1 การทำผิดมรรยาททนายความมี  “โทษ”  3 สถาน                               ตามพ.ร.บ.ทนายความพ.ศ.2528 มาตรา 52 วรรคแรกประกอบด้วย  

1.การภาคทัณฑ์   2.การห้ามเป็นทนายความไม่เกิน 3 ปี  3.การลบชื่อออกจากทะเบียนทนายความ 4.2 กรณีกระทำผิดเล็กน้อยและกระทำผิดเป็นครั้งแรก   คณะกรรมการมรรยาทหรือคณะกรรมการสภาทนายความหรือสภานายกพิเศษ  มีอำนาจตาม...ทนายความ..2528 มาตรา 52 วรรคสองงดการลงโทษเป็น  1.ว่ากล่าวตักเตือนหรือ  2.ทำทัณฑ์บนเป็นหนังสือแทนได้   5.คดีมรรยาททนายความภาคการดำเนินคดีมรรยาททนายความ 5.1. ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินคดีมรรยาททนายความประกอบด้วย 1.ผู้กล่าวหา  (ผู้ร้องเรียน )  2.ผู้ถูกกล่าวหา (ทนายความผู้ถูกร้องเรียน)  3.คณะกรรมการสอบสวนคือบุคคลที่เป็นทนายความมาไม่น้อยกว่า 10 ปี                   และมีจำนวนตั้งแต่  3 คน  ขึ้นไป  มีหน้าที่สอบสวนคดีมรรยาทและทำรายงานสอบสวนพร้อมความเห็นเสนอต่อคณะกรรมการมรรยาท ( ตาม  ข้อ 5 + ข้อ 19 +ข้อ 39 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยการพิจารณาคดีมรรยาททนายความ.. 2546) 4.คณะกรรมการมรรยาททนายความ  มีอำนาจ           4.1  สั่งจำหน่ายคดีมรรยาท         4.2  สั่งยกข้อกล่าวหา   4.3   สั่งลงโทษผู้ถูกกล่าวหา          4.4   สั่งให้ว่ากล่าวตักเตือนหรือทำทัณฑ์บนผู้ถูกกล่าวหา     (ตาม...ทนายความ.. 2528 มาตรา 14 + มาตรา 66 )        5.คณะกรรมการสภาทนายความ   มีอำนาจ          5.1 สั่งยืน  สั่งแก้  หรือกลับคำสั่งของคณะกรรมการมรรยาท           5.2 สั่งให้คณะกรรมการมรรยาทสอบสวนเพิ่มเติม         5.3  สั่งลงโทษผู้ถูกกล่าวหา         5.4 สั่งให้ว่ากล่าวตักเตือนหรือทำทัณฑ์บนผู้ถูกกล่าวหา        5.5 คำสั่งยืนให้จำหน่ายคดี”  ตามคณะกรรมการมรรยาทเป็นที่สุด       5.6  คำสั่งให้ยกข้อกล่าวหาของคณะกรรมการสภาทนายความเป็นที่สุด          (ตาม...ทนายความ.. 2528 มาตรา 14 + 67 )  6.นายกสภาทนายความ (ตามมาตรา 14 ...ทนายความฯ)  7.สภานายกพิเศษแห่งสภาทนายความ  คือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม                มีอำนาจ   7.1 พิจารณาอุทธรณ์ของผู้ถูกกล่าวหาที่ถูกลงโทษแล้ว    7.2  สั่งยืน  สั่งแก้  หรือกลับคำสั่งของคณะกรรมการมรรยาท        7.3  สั่งให้คณะกรรมการมรรยาทสอบสวนเพิ่มเติม       7.4  สั่งลงโทษผู้ถูกกล่าวหา       7.5 สั่งให้ว่ากล่าวตักเตือนหรือทำทัณฑ์บนผู้ถูกกล่าวหา        ( ตาม...ทนายความ.. 2528 มาตรา 10 + 68  )  5.1. ขั้นตอนการดำเนินคดีมรรยาท  1. ยื่นคำกล่าวหาว่าทนายความกระทำผิดมรรยาทเป็นหนังสือ + รายละเอียดพฤติการณ์ + หลักฐาน ”  ต่อประธานกรรมการมรรยาททนายความโดยตรงหรือส่งไปรษณีย์ก็ได้   ( ข้อ 14 + ข้อ 15 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยการพิจารณาคดีมรรยาททนายความ.. 2546)  2.ประธานกรรมการมรรทยาททนายความจะทำการตรวจสอบคำกล่าวหาหาก  2.1.  ไม่มีเหตุให้สอบสวนเป็นคดีมรรยาทจะไม่รับคำกล่าวหา”  แล้วแจ้งให้ผู้กล่าวหาทราบพร้อมเหตุผล  2.2   มีเหตุให้สอบสวนเป็นคดีมรรยาทจะรับเป็นคำกล่าวหาแล้วดำเนินการต่อไป    ( ข้อ 17 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยการพิจารณาคดีมรรยาททนายความ.. 2546) 3.เมื่อมีคำสั่งให้รับเป็นคำกล่าวหาแล้วประธานกรรมการมรรยาทจะดำเนินการ  3.1 ส่งสำเนาคำกล่าวหาให้ผู้ถูกกล่าวหา + แจ้งให้ยื่นแก้ข้อกล่าวหา 3.2 เสนอคณะกรรมการมรรยาทแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน (กรรมการสอบต้องเป็นทนายความมาไม่น้อยกว่า 10 ปีและมีจำนวนตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป )  3.3. แจ้งคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการให้ผู้กล่าวหา + ผู้ถูกกล่าวหาและกรรมการสอบสวนรับทราบ    ( ข้อ 18+ ข้อ 19 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยการพิจารณาคดีมรรยาททนายความ.. 2546)  4.ผู้ถูกกล่าวหายื่นคำแก้ข้อหาภายใน  15 วัน  นับแต่วันที่ได้รับสำเนาคำกล่าวหาหรือภายในเวลาที่ประธานกรรมการมรรยาทขยายให้   ( ข้อ 22 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยการพิจารณาคดีมรรยาททนายความ.. 2546) 5.การสอบสวนของคณะกรรมการเริ่มจาก  คณะกรรมการจะประชุมกันภายใน 30 วันเพื่อกำหนดวันนัดพร้อมแล้วแจ้งวันนัดให้ผู้กล่าวหาและผู้ถูกกล่าวหาทราบ  ( ข้อ 23 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยการพิจารณาคดีมรรยาททนายความ.. 2546) 6.ถึงวันนัดพร้อม”  คณะกรรมการจะสอบถามผู้กล่าวหาและผู้ถูกกล่าวหา                 

ถึงจำนวนพยานและนัดหมายสอบพยานที่ทั้งสองฝ่ายอ้างอิง  ( ข้อ 24 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยการพิจารณาคดีมรรยาททนายความ.. 2546) 7.กรณีผู้ถูกกล่าวหาตายก่อนที่จะสอบสวนเสร็จคณะกรรมการสอบสวนต้องรวบรวมหลักฐานการตายเสนอคณะกรรมการมรรยาทจำหน่ายคดี  ( ข้อ 27 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยการพิจารณาคดีมรรยาททนายความ.. 2546) 8.เมื่อการสอบสวนเสร็จสิ้นแล้วคณะกรรมการสอบสวนต้องประชุมสรุปสำนวนคดี  เป็นรายงานการสอบสวนพร้อมความเห็น(ใช้เกณฑ์เสียงข้างมากเสนอต่อคณะกรรมการมรรยาทโดยเร็ว   ( ข้อ 39+ ข้อ 40 + ข้อ 42 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยการพิจารณาคดีมรรยาททนายความ.. 2546) 9.เมื่อคณะกรรมการมรรยาททนายความได้รับสำนวนสอบสวนคดีมรรยาทแล้ว 9.1 ประธานกรรมการมรรยาทนายความจะจ่ายสำนวนคดีมรรยาทให้แก่กรรมการมรรยาทคนใดคนหนึ่ง  9.2 กรรมการมรรยาทจะทำการตรวจสำนวนและทำความเห็นเสนอที่ประชุมของคณะกรรมการมรรยาททนายความเพื่อพิจารณา   ( ข้อ 44 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยการพิจารณาคดีมรรยาททนายความ.. 2546)  10. การพิจารณาของคณะกรรมการมรรยาททนายความ  10.1 หากสำนวนคดีมรรยาทมีคำร้องขอถอนข้อกล่าวหาของผู้กล่าวหาติดสำนวนมาด้วยคณะกรรมการมรรยาทต้องพิจารณาว่าจะอนุญาต”  ให้ผู้กล่าวหาถอนคำกล่าวหาหรือไม่เสียก่อนเป็นลำดับแรก  ( ข้อ 45 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยการพิจารณาคดีมรรยาททนายความ.. 2546) 10.2 คณะกรรมการมรรยาทจะพิจารณาสำนวนคดีมรรยาทและมีคำสั่งอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้   1.สั่งให้คณะกรรมการสอบสวนใหม่หรือสอบสวนเพิ่มเติม  2.สั่งให้จำหน่ายคดี  3.สั่งยกคำกล่าวหา 4.สั่งลงโทษผู้กล่าวหา  5.สั่งให้ว่ากล่าวตักเตือนหรือทำทัณฑ์บนแทนการลงโทษ  ( ข้อ 46 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยการพิจารณาคดีมรรยาททนายความ.. 2546  และ  มาตรา 66 ...ทนายความ.. 2528 )  11.เมื่อคณะกรรมการมรรยาทมีมติและออกคำสั่งแล้วต้องส่งสำนวนคดีมรรยาทพร้อมคำสั่งไปให้คณะกรรมการสภาทนายความพิจารณาต่อไปทั้งนี้ภายใน  30 วัน                      นับแต่มีคำสั่ง    ( ข้อ 47 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยการพิจารณาคดีมรรยาททนายความ.. 2546 และมาตรา 67 ...ทนายความ.. 2528 ) 12.ขั้นตอนการพิจารณาของคณะกรรมการสภาทนายความ    1.เมื่อคณะกรรมการสภาทนายความได้รับสำนวนสอบสวนคดีมรรยาทและความเห็นคำสั่งของคณะกรรมการมรรยาทแล้ว  2. นายกสภาทนายความจะจ่ายสำนวนคดีมรรยาทให้แก่กรรมการสภาทนายความคนใดคนหนึ่ง  3. กรรมการสภาทนายความจะทำการตรวจสำนวนและทำความเห็นเสนอที่ประชุมของคณะกรรมการสภาทนายความเพื่อพิจารณา   4. การพิจารณาของคณะกรรมการสภาทนายความ  4.1 หากสำนวนคดีมรรยาทมีคำร้องขอถอนข้อกล่าวหาของผู้กล่าวหาติดสำนวนมาด้วยคณะกรรมการสภาทนายความต้องพิจารณาว่าจะอนุญาต”  ให้ผู้กล่าวหาถอนคำกล่าวหาหรือไม่เสียก่อนเป็นลำดับแรก  4.2 คณะกรรมการสภาทนายความจะพิจารณาสำนวนคดีมรรยาทและมีคำสั่งอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้   1.สั่งให้คณะกรรมการมรรยาทสอบสวนใหม่หรือสอบสวนเพิ่มเติม  2.สั่งให้จำหน่ายคดี  3.สั่งยกคำกล่าวหา 4.สั่งลงโทษผู้กล่าวหา  5.สั่งให้ว่ากล่าวตักเตือนหรือทำทัณฑ์บนแทนการลงโทษ  ( ข้อ 48 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยการพิจารณาคดีมรรยาททนายความ.. 2546  และ  มาตรา 67 ...ทนายความ.. 2528 ) 13. เมื่อคณะกรรมการสภาทนายความมีมติและออกคำสั่งแล้ว  นายกสภาทนายความต้องแจ้งคำสั่ง + ส่งสำนวนคดีมรรยาท  คืนประธานกรรมการมรรยาท ( หากคณะกรรมการสภาทนายความมิได้มีมติภายใน 60 วันนับแต่ได้รับสำนวนให้ถือว่าคณะกรรมการสภาทนายความมีคำสั่งยืน”  ตามคณะกรรมการมรรยาทยกเว้นแต่คดีอยู่ระหว่างการสั่งให้สอบสวนใหม่หรือสอบสวนเพิ่มเติม )      ( ข้อ 49 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยการพิจารณาคดีมรรยาททนายความ.. 2546 และมาตรา 67 ...ทนายความ.. 2528 )   

14.คำสั่งของคณะกรรมการสภาทนายความกรณีต่อไปนี้ถือเป็นที่สุด  14.1 กรณีคณะกรรมการสภาทนายความมีมติ  “สั่งยืนตามคำสั่งคณะกรรมการมรรยาทที่ให้จำหน่ายคดีเช่นการจำหน่ายคดีเพราะผู้ถูกกล่าวหาตายหรือการจำหน่ายคดีเพราะผู้กล่าวหาถอนข้อกล่าวหาเป็นต้น )  14.2 กรณีคณะกรรมการสภาทนายความมีมติ “สั่งให้ยกข้อกล่าวหา”      (ตามพ.ร.บ.ทนายความพ.ศ. 2528 มาตรา 67 ) 15.ผู้ถูกกล่าวหาที่ถูกลงโทษในคดีมรรยาททนายความมีสิทธิ “อุทธรณ์” คำสั่งลงโทษไปยังสภานายกพิเศษภายใน  30 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำสั่ง  16.การอุทธรณ์ให้ทำอุทธรณ์เป็นหนังสือยื่นต่อประธานคณะกรรมการมรรยาททนายความโดยตรงหรือทางไปรษณีย์ก็ได้   ( ข้อ 52+ ข้อ 53 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยการพิจารณาคดีมรรยาททนายความพ.ศ. 2546 และมาตรา 68 พ.ร.บ.ทนายความพ.ศ. 2528 ) 17. ประธานกรรมการมรรยาททนายความจะพิจารณาอุทธรณ์ว่าจะรับหรือไม่  17.1 กรณีประธานกรรมการมรรยาทมีคำสั่ง “ไม่รับอุทธรณ์” ผู้ถูกกล่าวหาต้องโต้แย้งคำสั่งภายใน  15  วัน  17.2 กรณีประธานกรรมการมรรยาทมีคำสั่ง “รับอุทธรณ์” จะส่งสำนวนการสอบสวนคำสั่งและอุทธรณ์ไปยังสภานายกพิเศษเพื่อพิจารณา  18. สภานายกพิเศษ  มีอำนาจ  1.สั่งให้คณะกรรมการสภาทนายความสอบสวนใหม่หรือสอบสวนเพิ่มเติม  2.สั่งให้จำหน่ายคดี  3.สั่งยกคำกล่าวหา 4.สั่งลงโทษผู้กล่าวหา  5.สั่งให้ว่ากล่าวตักเตือนหรือทำทัณฑ์บนแทนการลงโทษ  6. หากสภานายกพิเศษมิได้มีมติภายใน 60 วันนับแต่ได้รับสำนวนให้ถือว่ามีคำสั่ง “ยืน”  ตามคณะกรรมการมรรยาทยกเว้นแต่คดีอยู่ระหว่างการสั่งให้สอบสวนใหม่หรือสอบสวนเพิ่มเติม )      ( มาตรา 68 พ.ร.บ.ทนายความพ.ศ. 2528 ) 19.กรณี  สภานายกพิเศษมีคำสั่งลงโทษผู้ถูกกล่าวหามีสิทธิฟ้องร้องต่อศาลปกครองได้ภายใน 90 วันนับแต่วันที่ได้รับทราบคำสั่ง  ( ข้อ 57 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยการพิจารณาคดีมรรยาททนายความพ.ศ. 2546) 20  เมื่อคดีมรรยาทถึงที่สุดให้ลงโทษผู้ถูกกล่าวหาประธานกรรมการมรรยาทจะแจ้งผลคดีให้นายทะเบียนทนายความบันทึกไว้ในประวัติทนายความ ( ข้อ 51 แห่งข้อบังคับสภาทนายความว่าด้วยการพิจารณาคดีมรรยาททนายความ  พ.ศ. 2546) 

By ท่านติ./     

142 thoughts on “ไล่สายคดีมรรยาททนายความ (เพื่อสอบวิชาว่าความ)

  1. Its like you read my mind! You appear to understand a lot about this, like you
    wrote the e book in it or something. I think that you
    could do with a few percent to pressure the message house
    a bit, however instead of that, this is fantastic blog.
    An excellent read. I will certainly be back.

  2. hey there and thank you for your info – I’ve definitely picked up something new from right here.
    I did however expertise a few technical issues using this site, since
    I experienced to reload the web site a lot of times previous to I could get it to load correctly.
    I had been wondering if your web host is OK?
    Not that I’m complaining, but sluggish loading instances times will sometimes
    affect your placement in google and could damage your quality score if advertising and marketing with Adwords.

    Well I’m adding this RSS to my e-mail and could look out for a lot more of
    your respective fascinating content. Ensure that you update this again soon.

  3. Hello there! I know this is somewhat off topic but I was wondering which
    blog platform are you using for this website? I’m
    getting sick and tired of WordPress because I’ve had problems with hackers and I’m looking at options for
    another platform. I would be great if you could point me
    in the direction of a good platform.

  4. Have you ever thought about adding a little bit more than just your articles?
    I mean, what you say is fundamental and all. But just imagine if you added some great pictures or videos to give your posts more, “pop”!
    Your content is excellent but with images and video clips,
    this website could definitely be one of the greatest in its niche.

    Good blog!

  5. Hey! I know this is kind of off topic but I was wondering which blog platform are you using for this site?
    I’m getting sick and tired of WordPress because I’ve had problems with hackers and I’m looking at alternatives for another platform.
    I would be awesome if you could point me in the
    direction of a good platform.

  6. Excellent blog you have here but I was curious about if you knew
    of any discussion boards that cover the same topics talked
    about in this article? I’d really love to be a part of online community
    where I can get feedback from other knowledgeable people
    that share the same interest. If you have any
    suggestions, please let me know. Thanks!

  7. We absolutely love your blog and find nearly all of your post’s to be exactly I’m looking for.
    can you offer guest writers to write content available for you?
    I wouldn’t mind composing a post or elaborating on a
    few of the subjects you write regarding here. Again, awesome web log!

  8. You actually make it seem really easy with your presentation but
    I to find this topic to be actually one thing which I believe I’d by no means understand.
    It kind of feels too complex and extremely extensive for me.
    I am having a look forward in your subsequent submit, I’ll try
    to get the hold of it!

  9. First of all I want to say superb blog! I had a quick question in which I’d like to ask if you do not mind.
    I was interested to find out how you center yourself and clear your mind
    prior to writing. I have had trouble clearing my
    mind in getting my thoughts out. I truly do enjoy
    writing but it just seems like the first 10 to 15 minutes
    are generally lost simply just trying to figure out how to begin. Any recommendations or hints?
    Thanks!

  10. Hi! I know this is kinda off topic however , I’d figured I’d ask.
    Would you be interested in trading links or maybe guest authoring a blog article or vice-versa?

    My site covers a lot of the same subjects as yours and I believe we could greatly benefit from
    each other. If you’re interested feel free to shoot me an e-mail.
    I look forward to hearing from you! Excellent blog by the way!

  11. Hi there would you mind sharing which blog platform you’re working with?
    I’m looking to start my own blog soon but I’m having
    a difficult time deciding between BlogEngine/Wordpress/B2evolution and Drupal.
    The reason I ask is because your layout seems different then most blogs and I’m looking for something completely unique.
    P.S Sorry for being off-topic but I had to ask!

  12. First of all I would like to say fantastic blog!
    I had a quick question in which I’d like to ask if you don’t mind.
    I was interested to find out how you center yourself and clear
    your head prior to writing. I have had difficulty clearing my thoughts in getting
    my ideas out there. I truly do enjoy writing however it just seems like the first
    10 to 15 minutes tend to be wasted simply just trying to figure out how to begin. Any suggestions or tips?
    Kudos!

  13. This is the perfect web site for anyone who wishes to understand this topic.
    You realize a whole lot its almost tough to argue with you (not that I really will need to…HaHa).

    You definitely put a brand new spin on a topic which has been written about for a long time.

    Great stuff, just wonderful!

  14. naturally like your web site however you need to check the spelling on several of your
    posts. A number of them are rife with spelling problems and I in finding
    it very troublesome to tell the reality however I will certainly come back again.

  15. Hello there! This is kind of off topic but I need some advice from an established blog.
    Is it hard to set up your own blog? I’m not very techincal but
    I can figure things out pretty fast. I’m thinking about setting up my own but I’m not sure where to start.
    Do you have any tips or suggestions? Thanks

  16. I loved as much as you’ll receive carried out right here. The sketch is tasteful, your authored material stylish.

    nonetheless, you command get bought an shakiness over that you
    wish be delivering the following. unwell unquestionably come more formerly again since exactly the same nearly a lot often inside
    case you shield this increase.

  17. Greetings from California! I’m bored at work so I decided to browse your website
    on my iphone during lunch break. I really like the info you present here and can’t wait to take
    a look when I get home. I’m surprised at how quick your blog loaded on my cell phone ..

    I’m not even using WIFI, just 3G .. Anyways, fantastic site!

  18. Hi there just wanted to give you a quick heads up. The text in your article seem to be running off the screen in Internet
    explorer. I’m not sure if this is a format issue or something to do with browser compatibility but
    I figured I’d post to let you know. The style and design look great though!
    Hope you get the issue fixed soon. Many thanks

  19. My coder is trying to persuade me to move to
    .net from PHP. I have always disliked the idea because of
    the costs. But he’s tryiong none the less. I’ve been using WordPress on various websites for about a year and am anxious about switching
    to another platform. I have heard great things
    about blogengine.net. Is there a way I can transfer all my wordpress content into it?
    Any kind of help would be really appreciated!

  20. Pretty section of content. I just stumbled upon your web site
    and in accession capital to assert that I acquire
    actually enjoyed account your blog posts. Any way I’ll be subscribing to your feeds and even I achievement you access consistently
    rapidly.

  21. I have been surfing on-line more than 3 hours lately,
    yet I by no means discovered any fascinating article like yours.
    It’s lovely value enough for me. Personally, if all web owners and
    bloggers made good content as you did, the web shall be a lot more helpful than ever before.

  22. Greetings from Ohio! I’m bored to tears at work so I decided
    to browse your website on my iphone during lunch break.
    I really like the knowledge you present here and can’t wait to take
    a look when I get home. I’m shocked at how fast your blog loaded on my mobile ..
    I’m not even using WIFI, just 3G .. Anyhow, awesome blog!

  23. Very good blog! Do you have any helpful hints for aspiring writers?
    I’m hoping to start my own blog soon but I’m a little lost on everything.
    Would you recommend starting with a free platform like WordPress or go for a paid option? There are so many choices
    out there that I’m completely overwhelmed ..
    Any recommendations? Appreciate it!

  24. An outstanding share! I have just forwarded this onto a friend who has been doing a
    little homework on this. And he actually bought me breakfast simply because I discovered it for him…
    lol. So let me reword this…. Thanks for the meal!! But yeah, thanx for spending time
    to discuss this issue here on your web page.

  25. Definitely believe that which you stated. Your favorite justification seemed to be on the internet the
    simplest thing to be aware of. I say to you, I certainly get annoyed while people consider
    worries that they just don’t know about. You managed to hit the nail upon the top as
    well as defined out the whole thing without having side-effects , people could take a signal.
    Will likely be back to get more. Thanks

  26. Greetings! I know this is kinda off topic but I was wondering
    which blog platform are you using for this site?
    I’m getting sick and tired of WordPress because I’ve had issues with hackers and I’m looking at options
    for another platform. I would be great if you could point me in the direction of
    a good platform.

  27. Hi I am so grateful I found your website, I really found you by error, while
    I was looking on Yahoo for something else, Anyhow I am here now and would just like to say thank you for a
    tremendous post and a all round enjoyable blog (I also love the theme/design), I don’t have time
    to go through it all at the minute but I have bookmarked
    it and also added in your RSS feeds, so when I have time I will be back to read a great deal more,
    Please do keep up the great work.

  28. Hello there, I found your blog by way of Google whilst looking for a comparable
    topic, your web site came up, it seems good.
    I have bookmarked it in my google bookmarks.
    Hello there, just changed into alert to your weblog via
    Google, and found that it is really informative.
    I am gonna watch out for brussels. I’ll be grateful in the event you continue this in future.
    Lots of people will be benefited out of your writing.

    Cheers!

  29. Hello there, I found your website via Google whilst searching
    for a comparable topic, your site got here up, it looks great.
    I’ve bookmarked it in my google bookmarks.
    Hello there, simply became alert to your blog through Google,
    and found that it’s truly informative. I’m gonna be careful for brussels.

    I’ll appreciate should you proceed this in future.
    Many folks might be benefited from your writing.
    Cheers!

  30. Definitely believe that which you said. Your favorite justification appeared to
    be on the web the easiest thing to be aware of. I say to you, I certainly get irked while people think about
    worries that they just do not know about. You managed to hit the
    nail upon the top as well as defined out the whole thing without having side effect , people could
    take a signal. Will likely be back to get more. Thanks

Comments are closed.